บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2022

ปลาแปลกๆ ปลาเอ็กโซดอน อยู่เป็นฝูง ดุร้ายก้าวร้าว ชอบรุมกัดครีบหรือเกล็ดปลาอื่นๆกระเพาะมีกรดที่ย่อยเกล็ดปลาได้

รูปภาพ
ปลาแปลกๆ ปลาเอ็กโซดอน อยู่เป็นฝูง ดุร้ายก้าวร้าว ชอบรุมกัดครีบหรือเกล็ดปลาอื่นๆกระเพาะมีกรดที่ย่อยเกล็ดปลาได้  ปลาเอ็กโซดอนปลาที่มีนิสัยดุร้ายและอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาแปลกๆที่ไม่มีฟันแต่สามารถต่อสู้กับปลาปิรันย่าได้ปลาปิรันย่ายังกลัว ปลาexodon ปลาที่ชอบรุมกัดที่เกล็ดปลาอื่น จนตาย ธรรมชาติก็สร้างสรรค์...นะครับสำหรับการจะให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีคุณสมบัติพิเศษกว่าอีกสิ่งหนึ่งเพื่อเป็นการป้องกัน ปรับตัวหรือ เป็นการเอาตัวรอด ไม่ให้ตัวเองถูกทำลายจนสูญพันธุ์ตัวอย่างเช่นปลาเอ็กโซดอน นี่แหละครับ เรามาอ่านรายละเอียดกันเลยดีกว่า ปลาเอ็กโซดอน (อังกฤษ: Bucktooth tetra; ชื่อวิทยาศาสตร์: Exodon paradoxus) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาคาราซิน (Characidae) ในอันดับปลาคาราซิน ข้อมูลเบื้องต้น ปลาเอ็กโซดอน, การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ ... เป็นปลาขนาดเล็ก มีครีบก้นสีเหลือง ครีบอื่นเป็นสีแดง ลำตัวเป็นสีเงินสะท้อนแสงสีเหลืองวาว ดวงตากลมโตมีขอบตาเหลือง และมีจุดสีดำขนาดใหญ่ 2 จุด จุดแรกอยู่ที่โคนหาง อีกจุดอยู่ตรงกลางตัวบริเวณโคนครีบหลัง หากอยู่ในที่มืดจะสะท้อนแสงแวววาวมาก ในปากไม่พบฟัน จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดีย

ย้อนอดีต หัมปี (Hampi)อาณาจักรฮินดูอันยิ่งใหญ่อาณาจักรสุดท้ายของอินเดียใต้เมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับสองในบรรดาเมืองยุคกลาง รองเพียงปักกิ่ง

รูปภาพ
ย้อนอดีต หัมปี (Hampi)อาณาจักรฮินดูอันยิ่งใหญ่อาณาจักรสุดท้ายของอินเดียใต้เมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับสองในบรรดาเมืองยุคกลาง รองเพียงปักกิ่ง 🙄น่าเสียดายโบราณวัตถุหรือโบราณสถานที่ถูกทำลายในอินเดียมีมากมายตั้งแต่เมื่อถูกอาณาจักรโมกุนอิสลามเข้ารุกรานและยึดครองทุกสิ่งทุกอย่างก็ถูกทำลายเสื่อมสภาพลงไป ...หมดยุคเจริญรุ่งเรืองของอินเดียยุคโบราณเลยนะครับตัวอย่างกลุ่มอนุสรณ์สถานที่หัมปี (Group of Monuments at Hampi)ที่เคยเจริญรุ่งเรืองแต่สุดท้ายสิ้นสุดลงหลังพ่ายแพ้ภายหลังการปะทะกับรัฐสุลต่านมุสลิม 👉🏿เรามาเข้าเรื่องโบราณสถานกลุ่มอนุสรณ์สถานที่หัมปี (Group of Monuments at Hampi)กันเลยดีกว่านะครับ หัมปี (Hampi) หรือ หัมเป (Hampe) หรือเรียกว่า กลุ่มอนุสรณ์สถานที่หัมปี (Group of Monuments at Hampi) เป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก ตั้งอยู่ทางตะวันออกตอนกลางของรัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย หัมปี (Hampi) หรือ หัมเป (Hampe) หรือเรียกว่า กลุ่มอนุสรณ์สถานที่หัมปี (Group of Monuments at Hampi) เป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก ตั้งอยู่ทางตะวันออกตอนกลางของรัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย ข้อมูลเบื้องต้น แหล่งมรดกโลกของ

ย้อนเวลาหาอดีต เมืองเก่าผิงเหยา เมืองเก่า สมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง..ยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเมืองให้เป็นมรดกโลก

รูปภาพ
ย้อนเวลาหาอดีต เมืองเก่าผิงเหยา เมืองเก่า สมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง..ยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเมืองให้เป็นมรดกโลก เมืองเก่าผิงเหยาเมืองโบราณที่ผ่านยุคสมัยอดีตจนมาถึงปัจจุบันยังไม่ได้รับการเปลี่ยนแปลงมากนัก  ยังคงสภาพบ้านเมืองในอดีตและบ้านเก่าๆอีกมากมายเหมือนกับว่าเราเข้าไปที่เมืองนี้...กำลังย้อนเวลากลับไปหาอดีตนั่นเอง ย้อนไปในยุคสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงเลยละครับ.. องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเมืองผิงเหยาให้เป็นมรดกโลก เข้ารายละเอียดของเมืองผิงเหยากันเลยดีกว่านะครับ เมืองเก่าผิงเหยา (จีน: 平遥; พินอิน: Píngyáo) เป็นเมืองหนึ่งในมณฑลชานซี อยู่ห่างจากกรุงปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประมาณ 715 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากเมืองไท่หยวน เมืองหลวงของมณฑล 80 กิโลเมตร ในสมัยราชวงศ์ชิง ผิงเหยาเป็นศูนย์กลางทางการเงินของจีน มีชื่อเสียงมาจากกำแพงเมืองโบราณที่ได้รับการอนุรักษ์เป็นอย่างดี และได้รับการประกาศให้เป็นเมืองมรดกโลก ความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ผิงเหยายังคงมีโครงสร้างของเมืองเช่นเดียวกับสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง ภายในเมืองและบริเวณใกล้เคียงเป็นที่ตั้งของโบราณสถานมากกว่า 300 แห่ง ม

สัญญาณแห่งหายนะ เมื่อยุโรปร้อนทะลุ 40 องศา

รูปภาพ
สัญญาณแห่งหายนะ เมื่อยุโรปร้อนทะลุ 40 องศา  ความร้อนกับประเทศไทยเป็นของคู่กัน แต่ช่วงเวลานี้ดินแดนเขตหนาวอย่างยุโรปกำลังเผชิญคลื่นความร้อนที่ดันให้อุณหภูมิสูงเป็นประวัติการณ์  ความแล้งแห้งที่มีอยู่เป็นทุนเดิม ก่อให้เกิดไฟป่าครั้งใหญ่ในฝรั่งเศส, โปรตุเกส, สเปน และกรีซ ซึ่งเป็นเหตุให้ผู้คนมากกว่า 3 หมื่นคน ต้องอพยพออกจากบ้านเรือนของตัวเอง  ขณะเดียวกัน ในประเทศจีน ประชาชนกว่า 900 ล้านคน หรือกว่าครึ่งของประเทศ ต้องดำรงชีวิตอยู่ภายใต้อุณหภูมิที่อาจสูงถึง 40 องศาเซลเซียส หรือมากกว่านั้น เกิดอะไรขึ้นกับโลก ทำไมหลายประเทศจึงถูกคลื่นความร้อนเล่นงานพร้อมกัน และนับวันยิ่งเกิดถี่ขึ้นเรื่อยๆ หรือนี่คือความผิดปกติ ที่จะกลายเป็นความปกติในไม่ช้า  ● ‘คลื่นความร้อน’ คืออะไร เกิดขึ้นที่ไหนบ้าง  คลื่นความร้อนเป็นปรากฏการณ์ที่ระยะหลังมานี้พบเห็นบ่อยครั้ง โดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) กำหนดนิยามของคลื่นความร้อนไว้ว่า เป็นภาวะที่อุณหภูมิสูงสุดเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 5 องศาเซลเซียส ติดต่อกันเป็นเวลาอย่างน้อย 5 วัน และปีนี้ก็เกิดขึ้นแล้วหลายครั้ง  . กรณีที่ถูกจดจำได้ดีคือ คลื่นความร้อนในอินเดีย และปากีสถาน ที่อุณหภ